ค้นหา

บทความที่ได้รับความนิยม

Wikipedia

ผลการค้นหา

วันเสาร์ที่ 7 มกราคม พ.ศ. 2566

พิษนาศน์หรือถั่วดินโคก


พิษนาศน์ ชื่อวิทยาศาสตร์: Sophora exigua ชื่ออื่นๆ แผ่นดินเย็น (อุบลราชธานี) นมราชสีห์ นมฤๅษี ถั่วดินโคก เป็นพืชในวงศ์ Fabaceae เป็นไม้พุ่มขนาดเล็ก ลำต้นสั้นมาก ใบประกอบแบบขนนก เรียงสลับ แนบกับพื้นดินเป็นแนวรัศมี ใบย่อย 9-13 ใบ รูปวงรี รูปไข่หรือรูปขอบขนานแกมวงรี ใบย่อยปลายใบรูปไข่กลับ ผิวใบมีขนละเอียดสีขาว 


พิษนาศน์ ชื่อวิทยาศาสตร์: Sophora exigua ชื่ออื่นๆ แผ่นดินเย็น (อุบลราชธานี) นมราชสีห์ นมฤๅษี ถั่วดินโคก เป็นพืชในวงศ์ Fabaceae เป็นไม้พุ่มขนาดเล็ก ลำต้นสั้นมาก ใบประกอบแบบขนนก เรียงสลับ แนบกับพื้นดินเป็นแนวรัศมี ใบย่อย 9-13 ใบ รูปวงรี รูปไข่หรือรูปขอบขนานแกมวงรี ใบย่อยปลายใบรูปไข่กลับ ผิวใบมีขนละเอียดสีขาว 

ดอกช่อกระจะ ออกที่ปลายยอด ดอกย่อยจำนวนมาก กลีบดอกรูปดอกถั่ว สีม่วงเข้ม ก้านช่อดอกยาว ผลเป็นฝักรูปขอบขนาน มีขนละเอียดสีขาว มีเมล็ดเดียว

ใบประกอบแบบขนนก เรียงสลับ แนบกับพื้นดินเป็นแนวรัศมี ใบย่อย 9-13 ใบ รูปวงรี รูปไข่หรือรูปขอบขนานแกมวงรี ใบย่อยปลายใบรูปไข่กลับ ผิวใบมีขนละเอียดสีขาว 

พิษนาศน์เป็นพืชสมุนไพร ทางจังหวัดอุบลราชธานีใช้ ราก ฝนกับน้ำดื่ม ช่วยลดไข้ในเด็ก ต้มน้ำดื่ม บำรุงน้ำนมแต่รับประทานมากไม่ดี ราก เหง้า ลำต้น ใบ ฝนทาฝี

พิษนาศน์หรือถั่วดินโคก


พิษนาศน์ ชื่อวิทยาศาสตร์: sophora exigua
ชื่ออื่นๆ แผ่นดินเย็น (อุบลราชธานี) นมราชสีห์ นมฤๅษี ถั่วดินโคก เป็นพืชในวงศ์ Fabaceae เป็นไม้พุ่มขนาดเล็ก ลำต้นสั้นมาก 



ดอกช่อกระจะ ออกที่ปลายยอด ดอกย่อยจำนวนมาก กลีบดอกรูปดอกถั่ว สีม่วงเข้ม ก้านช่อดอกยาว ผลเป็นฝักรูปขอบขนาน มีขนละเอียดสีขาว มีเมล็ดเดียว

ใบประกอบแบบขนนก เรียงสลับ แนบกับพื้นดินเป็นแนวรัศมี ใบย่อย 9-13 ใบ รูปวงรี รูปไข่หรือรูปขอบขนานแกมวงรี ใบย่อยปลายใบรูปไข่กลับ ผิวใบมีขนละเอียดสีขาว 


พิษนาศน์เป็นพืชสมุนไพร ทางจังหวัดอุบลราชธานีใช้ ราก ฝนกับน้ำดื่ม ช่วยลดไข้ในเด็ก ต้มน้ำดื่ม บำรุงน้ำนมแต่รับประทานมากไม่ดี ราก เหง้า ลำต้น ใบ ฝนทาฝี

พิษนาศน์หรือถั่วดินโคก


พิษนาศน์ ชื่อวิทยาศาสตร์: sophora exigua ชื่ออื่นๆ แผ่นดินเย็น (อุบลราชธานี) นมราชสีห์ นมฤๅษี ถั่วดินโคก เป็นพืชในวงศ์ Fabaceae เป็นไม้พุ่มขนาดเล็ก ลำต้นสั้นมาก 

วันศุกร์ที่ 6 มกราคม พ.ศ. 2566

กล้วยอีเห็น ชื่อเป็นกล้วยแต่ไม่ใช่กล้วย กล้วยอีเห็นเป็นพันธ์ุไม้เลื้อยโบราณพบได้เฉพาะภาคตะวันออกและภาคใต้

กล้วยอีเห็น ชื่อเป็นกล้วยแต่ไม่ใช่กล้วย
กล้วยอีเห็นเป็นพันธ์ุไม้เลื้อยโบราณพบได้เฉพาะภาคตะวันออกและภาคใต้

ชื่อกล้วยแต่ไม่เหมือนกล้วยเลยนะครับ
กล้วยอีเห็นฉันยังเป็นไม้เลื้อยอีกต่างหากแล้วทำไมมันชื่อถึงชื่อกล้วยล่ะ

กล้วยอีเห็น (ชื่อวิทยาศาสตร์: Uvaria dac Pierre ex Finet & Gagnep.) ชื่ออื่นๆ พีพวน (เลย อุดรธานี) เป็นพืชที่พบได้เฉพาะภาคตะวันออกและภาคใต้ตามป่าดิบแล้งหรือตามริมห้วย เป็นไม้เลื้อยเนื้อแข็ง มีขนรูปดาวสีน้ำตาลปกคลุมหนาแน่น ใบเลี้ยงคู่ และเป็นพืชดอก

ลักษณะทางพฤกษศาสตร์
กล้วยอีเห็น มีลักษณะเด่นคือ เป็นไม้เลื้อยเนื้อแข็ง มีขนรูปดาวสีน้ำตาลปกคลุมหนาแน่น ใบเลี้ยงคู่ และเป็นพืชดอก

ใบเกิดเดี่ยวๆ เรียงสลับ รูปรีหรือรูปขอบขนาน ขนาดกว้าง 4-7.5 ซม. ยาว 8-16.5 ซม. ผิวใบมีขนปกคลุมเล็กน้อยโดยเฉพาะบริเวณเส้นใบ

ดอกเกิดเดี่ยวๆ หรือออกเป็นกระจุกๆละ 2 ดอก ออกที่ปลายกิ่งหรือตรงข้ามใบ กลีบดอก 6 กลีบ สีขาวหรือสีเหลืองนวล รูปขอบขนาน ขนาดกว้าง 0.8-1.5 ซม. ยาว 1.3-2.5 ซม. เรียงเป็น 2 วงๆ ละ 3 กลีบ วงนอกใหญ่กว่าวงในเล็กน้อย มีขนสั้นนุ่มปกคลุม เส้นผ่าศูนย์กลางดอกบานประมาณ 2-4.5 ซม.


ข้อมูลเบื้องต้น กล้วยอีเห็น, การจำแนกชั้นทางวิทยาศาสตร์

ผลเป็นผลกลุ่ม ก้านช่อผลยาว 1-4.5 ซม. มีผลย่อย 7-5 ผล ผลย่อยรูปขอบขนานโค้องขึ้นยาว 4-7 ซม. ผิวผลขรุขระ ผลอ่อนสีเขียวเมื่อแก่สีเหลือง มี 7-8 เมล็ด ระยะเวลาออกดอกเริ่มตั้งแต่เดือนมกราคมจนถึงมิถุนายน ผลแก่หลังจากดอกบานประมาณ 5 เดือน...

การกระจายพันธุ์
กล้วยอีเห็น เป็นพืชที่พบได้เฉพาะภาคตะวันออกและภาคใต้ตามป่าดิบแล้งหรือตามริมห้วย

วันพฤหัสบดีที่ 5 มกราคม พ.ศ. 2566

กล้วยเฟอีกล้วยแปลกๆ มียางสีแดงอมม่วงซึ่งใช้ทำสีย้อมและหมึกเขียนหนังสือได้


กล้วยเฟอีกล้วยแปลกๆ มียางสีแดงอมม่วงซึ่งใช้ทำสีย้อมและหมึกเขียนหนังสือได้

กล้วยเฟอี (อังกฤษ: Fe'i bananas) เป็นกล้วยปลูกในสกุลกล้วย ใช้รับประทานเป็นผลไม้ พบในหมู่เกาะในมหาสมุทรแปซิฟิก โดยเฉพาะเฟรนช์พอลินีเชีย

 ต้นมียางสีแดงอมม่วงซึ่งใช้ทำสีย้อมและหมึกเขียนหนังสือได้

ผิวมัน เนื้อผลสีส้ม ความกว้างและความยาวของผลใกล้เคียงกัน เป็นอาหารหลักในบริเวณหมู่เกาะในมหาสมุทรแปซิฟิก 


มีเบตาแคโรทีนสูง ชื่อวิทยาศาสตร์คือ Musa × troglodytarum L.

กระโถนพระราม เป็นพืชดอกอีกชนิดหนึ่งจำพวกกาฝากหรือพืชเบียนขึ้นอาศัยบนเถาพืชสกุลเถาวัลย์น้ำ

กระโถนพระราม เป็นพืชดอกอีกชนิดหนึ่งจำพวกกาฝากหรือพืชเบียนขึ้นอาศัยบนเถาพืชสกุลเถาวัลย์น้ำ

พืชดอกจำพวกกาฝากชนิดนี้บางทีเราดูๆแล้วมันก็อาจจะสับสนเหมือนกันนะครับเพราะว่ามันจะมีลักษณะคล้ายๆกันแต่จะแตกต่างกันได้ถ้าสังเกตดีๆนะครับ

รู้สึกว่ายิ่งค้นหาพืชดอกแปลกๆ ชื่อนำหน้าว่ากระโถนๆนี่รู้สึกว่ามันน่าค้นหาจริงๆเลยนะครับอันนี้ก็จะมาอีกลักษณะหนึ่งของพืชชนิดนี้ ชื่อว่ากระโถนพระราม 

(ชื่อวิทยาศาสตร์: Sapria ram) เป็นพืชดอกจำพวกกาฝากหรือพืชเบียน
เรามาเข้าดูรายละเอียดกันเลยดีกว่านะครับ

กระโถนพระราม (ชื่อวิทยาศาสตร์: Sapria ram) เป็นพืชดอกจำพวกกาฝากหรือพืชเบียนในสกุลกระโถนฤๅษี ขึ้นอาศัยบนเถาพืชสกุลเถาวัลย์น้ำ (Tetrastigma) ที่ระดับความสูง 200 ถึง 750 ม.จากระดับน้ำทะเล เป็นพืชถิ่นเดียวพบทางภาคตะวันตกของประเทศไทย

ข้อมูลเบื้องต้น กระโถนพระราม, การจำแนกชั้นทางวิทยาศาสตร์

ลักษณะทางพฤกษศาสตร์
ดอกมีขนาดเล็ก เส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ 8-10 ซม. มี 10 กลีบ เมื่อบานกลีบค่อนข้างตั้งตรงเกือบตั้งฉาก

มีสีเลือดหมูหรือแดงอมชมพู มีกระสีขาวกระจายแน่นตรงโคนกลีบ มีกระบังเป็นวงอยู่ตรงกลาง มีช่องเปิดตรงกลาง ปลายฐานแคปซูลบานออกเป็นรูปถ้วย มีสีแดงอมชมพู ภายในท่อกลีบรวมมีสันนูนสีเหลืองจำนวน 20 สัน เรียงตามรัศมี ออกดอกช่างเดือนตุลาคมถึงพฤศจิกายน

กระโถนนางสีดา ชื่อดูดีแปลกๆ เป็นพืชดอกจำพวกกาฝากหรือพืชเบียน เป็นญาติใกล้ชิดกับพืชสกุลบัวผุด

กระโถนนางสีดา ชื่อดูดีแปลกๆ เป็นพืชดอกจำพวกกาฝากหรือพืชเบียน เป็นญาติใกล้ชิดกับพืชสกุลบัวผุด

สปีชีส์ของพืช
ต้องยอมรับเลยนะครับว่าการตั้งชื่อพืชหรืออะไรก็แล้วแต่ของไทยนี่มันเป็นชื่อหรือภาษาที่ได้ยินหรืออ่านแล้วมันเห็นภาพจริงๆเลยนะครับตัวอย่างพืชดอกชนิดนี้ชื่อว่ากระโถนนางสีดา เป็นพืชดอกจำพวกกาฝากหรือพืชเบียน เป็นญาติใกล้ชิดกับพืชสกุลบัวผุด

เป็นพืชดอกแปลกๆอีกชนิดหนึ่งเดี๋ยวเรามาดูรายละเอียดกันเลยดีกว่านะครับนอนดีๆอ้วนนอนดีๆ

กระโถนนางสีดา 
(ชื่อวิทยาศาสตร์: Sapria poilanei)
เป็นพืชดอกจำพวกกาฝากหรือพืชเบียน เป็นญาติใกล้ชิดกับพืชสกุลบัวผุด ขึ้นอาศัยบนเถาพืชสกุลเถาวัลย์น้ำที่ระดับความสูง 1,200 ถึง 1,400 ม.จากระดับน้ำทะเล พบในประเทศจีน ประเทศกัมพูชาและประเทศไทย

ลักษณะทางพฤกษศาสตร์
ดอกมีขนาดเล็ก เส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ 8-13 ซม. มี 10 กลีบ เมื่อบานกลีบรวมแผ่ออกค่อนข้างมากปลายโค้งแอ่นออกเล็กน้อย มีสีเลือดหมูหรือแดงอมชมพู

มีกระสีขาวกระจายแน่นตรงโคนกลีบ มีกระบังเป็นวงอยู่ตรงกลางนูนขึ้นเล็กน้อย มีสีขาว มีช่องเปิดตรงกลาง ปลายฐานแคปซูลบานออกเป็นรูปถ้วย




มีขนสั้นนุ่มสีแดง ภายในท่อกลีบรวมมีสันนูนสีขาวจำนวน 16 สัน เรียงตามรัศมี ออกดอกช่วงเดือนกุมภาพันธ์ถึงมีนาคม

0

กำลังเลือดม้า สมุนไพรชื่อแปลกๆ สมุนไพรสารพัดประโยชน์ ภาคเหนือใช้ เปลือกต้น แช่น้ำดื่ม บำรุงกำลัง

กำลังเลือดม้า สมุนไพรชื่อแปลกๆ สมุนไพรสารพัดประโยชน์ ภาคเหนือใช้ เปลือกต้น แช่น้ำดื่ม บำรุงกำลัง

วันนี้ก็จะมานำเสนอสมุนไพรแปลกๆที่ชื่อว่ากำลังเลือดม้า สมุนไพรสารพัดประโยชน์ทั้งบำรุงร่างกายและรักษาโรคเรามาดูรายละเอียดกันเลยดีกว่านะครับ

สปีชีส์ของพืช
กำลังเลือดม้า ชื่อวิทยาศาสตร์: Knema angustifoliaเป็นพืชในวงศ์ Myristicaceae ชื่ออื่นๆคือ มะม่วงเลือดน้อย ประดงเลือด ประดงไฟ เลือดควาย

เป็นไม้ยืนต้น เปลือกสีน้ำตาลเข้ม มีด่างขาวประปราย เปลือกแตกเป็นร่องยาว เนื้อไม้สีเหลือง เปลือกในมีน้ำยางสีแดงเข้ม มีฤทธิ์เป็นยาสมุนไพร

โดยใช้รักษาเม็ดประดงผื่นคัน แดงทั้งตัว แก้ปวดแสบปวดร้อน เปลือกต้นและเนื้อไม้ แก้โรคไตพิการ โรคเกี่ยวกับทางเดินปัสสาวะ แก้ภูมิแพ้ ผื่นคัน น้ำเหลืองเสีย

ทางภาคเหนือใช้ เปลือกต้น แช่น้ำดื่ม บำรุงกำลัง เปลือกต้นหรือใบ ต้มน้ำดื่ม แก้โรคโลหิตจาง

ข้อมูลเบื้องต้น กำลังเลือดม้า, การจำแนกชั้นทางวิทยาศาสตร์

วันพุธที่ 4 มกราคม พ.ศ. 2566

กล้วยเลือดหรือกล้วยมณี

วันนี้สรรหาบทความที่เกี่ยวกับผลไม้หรือต้นไม้ใบไม้ ที่มีสีเหมือนเลือดหรือชื่อเหมือนเลือดๆ เอามาให้ชมนะครับรู้สึกว่ามันแปลกๆดีที่ผลไม้หรือต้นไม้ที่มีสีแตกต่างจากธรรมชาติสีแดงๆคล้ายๆเลือด

บทความที่แล้วผมก็ได้เจอกับส้มสีเลือดมาอันนี้ก็เป็นอีกชนิดหนึ่งของผลไม้หรือว่าต้นไม้นะครับ..กล้วยเลือด
จะเป็นยังไงเดี๋ยวเราเข้ามาชมรายละเอียดกันเลยดีกว่านะครับ

กล้วยเลือดหรือกล้วยมณี (blood banana; ชื่อวิทยาศาสตร์: Musa acuminata var. zebrina) เป็นสายพันธุ์หนึ่งของกล้วยป่า เป็นพืชพื้นเมืองในเกาะสุมาตรา ประเทศอินโดนีเซีย

ใช้เป็นไม้ประดับ ใบมีรอยสีแดงคล้ำ ผลที่มีเมล็ดน้อยรับประทานได้

ข้อมูลเบื้องต้น กล้วยเลือด

การจัดจำแนกและการตั้งชื่อ

กล้วยเลือดเป็นสายพันธุ์ย่อยของกล้วยป่า Musa acuminata เคยจัดจำแนกเป็นสปีชีส์ต่างหากในชื่อ Musa zebrina and Musa sumatrana บางครั้งจัดจำแนกผิดพลาดเป็นพันธุ์ (cultivar)

กล้วยเลือดมีชื่อสามัญภาษาอังกฤษหลายชื่อ ได้แก่ Blood bananas red banana tree (บางครั้งจะสับสนกับ red banana ซึ่งเป็นชื่อสามัญของกล้วยพันธุ์หนึ่ง) seeded red banana, Sumatra ornamental banana และ maroon-variegated banana ภาษาสเปนเรียกว่า banano rojo ภาษาญี่ปุ่นเรียก ゼブリナバナナ (zeburina banana) และภาษาเวียดนามเรียก chuối kiểng

ก่อนจบบทความนี้ผมเป็นคนหนึ่งนะครับที่ชอบปลูกต้นไม้มากที่สุด..เพราะว่าปลูกต้นไม้แล้วรู้สึกมันสดชื่น ต้นไม้ก็ให้ร่มเงาและความสวยงาม ธรรมชาติแก่โลกไม่ว่าต้นไม้นั้นจะเป็นประเภทใดหรือว่าลักษณะใด สีแบบไหน ต้นไม้ก็มีประโยชน์ทั้งสิ้นนะครับ ต้นไม้ทั้งให้ร่มเงาเพิ่มสีสันกับธรรมชาติและโลกแล้วก็เป็นอาหารของมนุษย์

มีคลิปวีดีโอที่น่าจะเป็นหลักฐานหรือข้อมูลอ้างอิงที่ดีเลยนะครับกล้วยเลือด

รายการบล็อกของฉัน